แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559

ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาองค์ความรู้และระบบฐานข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพให้เป็นมาตรฐานสากล

4.1 แผนปฏิบัติการจัดการองค์ความรู้และฐานข้อมูล
ตัวชี้วัด

1 มีระบบฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนการกำหนดนโยบายและแผนด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

2 สัดส่วนนักอนุกรมวิธานประจำอยู่ในหน่วยงานที่ปฏิบัติงานด้านความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มขึ้น

3 มีกลไกในการบูรณาการและเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

4 มีองค์กรกลางในการขับเคลื่อนและใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน


แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
4.1.1.1 จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคอาเซียนในการส่งเสริม เผยแพร่ และพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากรด้านความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงอนุกรมวิธาน 1. ศึกษา กำหนดแนวทางและแผนงานในการจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพให้ครอบคลุมการพัฒนาองค์ความรู้บุคลากร การเผยแพร่สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึง พัฒนาความรู้ด้านอนุกรมวิธานและฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ
2. โครงการคลังทรัพยากรชีวภาพและวัสดุวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ
4.1.1.2 ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรนักวิจัย และนักอนุกรมวิธานด้านความหลากหลายทางชีวภาพให้ทัดเทียมกับนานาชาติ 1. อบรมบุคลากรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดำเนินงานอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ฝึกอบรมและส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นเป็นนักอนุกรมวิธานที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณี 1. โครงการรักมหาวิทยาลัยใส่ใจสิ่งแวดล้อมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตต์ พระบรมราชินีนาถ โดยร้อยละ 89 ของผู้เข้าร่วมโครงการพึงพอใจต่อกระบวนการจัดโครงการ
3. เสริมสร้างสมรรถนะ นักอนุกรมวิธานแมลงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การอบรมนักอนุกรมวิธานแมลงในวงศ์ Scolytidae,Empididae 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสำหรับเยาวชนในชายแดนภาคใต้ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม 157 คน ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มขึ้น
4. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ภาคสนามเป็นนักอนุกรมวิธานสมทบ - อนุกรมวิธานไลเคน 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ สำหรับเยาวชนในชายแดนใต้ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม 222 คน ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ เพิ่มขึ้น
5. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้น (Principle Taxonomy) และการระบุชนิดพืช (Plant Identification) 1. จัดประชุมวิชาการเนื่องในวันสากลแห่งความหลากหลายทางชีวภาพและวันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก
6. จัดสรรทุนฝึกอบรมและดูงานด้านอนุกรมวิธานอย่างต่อเนื่อง - อนุกรมวิธานไลเคน 1. มหกรรมทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ปี 2559
7. ฝึกอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรเพื่อใช้ความรู้ด้านอนุกรมวิธานสำหรับปฏิบัติงาน - โครงการเสริมสร้างสมรรถนะพนักงานด้าน Application of International Environmental Law : Biodiversity - ฝึกอบรมอนุกรมวิธานสำหรับปฏิบัติงาน (Advance Taxonomy) พืช/แมลง 1. จัดเวทีเสวนาวิชาการให้ความรู้/ความเข้าใจเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
2. การบำบัดน้ำเสียจากการเลี้ยงปลาหมอไทยแปลงเพศและปลาดุกอุยร่วมโดยการปลูกพืชลอยน้ำเพื่อการใช้น้ำอย่างยั่งยืน
8. จัดสรรทุนเล่าเรียนสาขาอนุกรมวิธานตามความต้องการของหน่วยงาน - อนุกรมวิธานไลเคน 1. จัดอบรมอนุกรมวิธานสัตว์น้ำและสัตว์น้ำวัยอ่อน
9. จัดอบรมหลักสูตร International Certificate Course on Biodiversity Monitoring and Management
10. ผลักดันให้เกิดการเพิ่มส่วนงานและตำแหน่งนักอนุกรมวิธานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและให้งานอนุกรมวิธานเป็นวิชาชีพพิเศษเป็นสาขาขาดแคลนโดยได้รับค่าตอบแทนพิเศษสำหรับวิชาชีพ
11. จัดฝึกอบรมบุคลากรในการสำรวจและติดตามตรวจสอบความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
12. อบรมเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ
13. ผลิตนักวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพระดับปริญญาตรี-โท-เอก
4.1.1.3 สนับสนุนการดำเนินงานและผลักดันการจัดตั้งและเพิ่มสมรรถนะพิพิธภัณฑ์และธนาคารเชื้อพันธุ์ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ให้เป็นมาตรฐานสากล 1. พัฒนาการพิพิธภัณฑ์แมลงของ อสพ. ระยะที่ 1
2. จัดสร้างพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาพืช และสัตว์ทะเลฝั่งอ่าวไทย จังหวัดระยอง
3. ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรพืชและสัตว์ทะเล
4.1.1.4 เสริมสร้างสมรรถนะสถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชนท้องถิ่น และเครือข่าย ในการศึกษา สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ พื้นที่สีเขียวและระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำในเขตเมือง เพื่อให้ทราบถึงสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ 1. จัดฝึกอบรมบุคลากรในการศึกษา สำรวจ และติดตาม ตรวจสอบความหลากหลายทางชีวภาพ 1. โครงการ อพ.สธ. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (โครงการตามพระราชดำริ) ในการจัดการ องค์ความรู้และฐานข้อมูลทรัพยากรผ่านการบริการวิชาการและงานวิจัย
2. จัดทำคู่มืออนุกรมวิธานท้องถิ่น
3. จัดทำคู่มือแนะนำแมลงที่พบในสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
4. จัดทำคู่มือการติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ 1. มีการจัดเก็บรวบรวมตัวอย่างพืชและสัตว์ เพื่อเป็นตัวอย่างอ้างอิงในการศึกษาค้นคว้าความหลากหลายทางชีวภาพ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
2. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เพื่อผลิตหนังสือความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
4.1.1.5 ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และอนุกรมวิธาน 1. ส่งเสริมการวิจัยด้านอนุกรมวิธานระดับจังหวัด
2. ส่งเสริมการวิจัยด้านอนุกรมวิธานในระบบนิเวศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง พื้นที่อ่อนไหว และพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ - อนุกรมวิธานไส้เดือนทะเล - อนุกรมวิธานไลเคน - อนุกรมวิธานของกลุ่มสัตว์เจาะไช (borer) ในระบบนิเวศแนวปะการัง - อนุกรมวิธานของโคพิพอดในระบบนิเวศชายฝั่งทะเล - อนุกรมวิธานพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - อนุกรมวิธานของไบรโอไฟต์และเฟิร์นบริเวณอุทยานแห่งชาติภูกระดึง - อนุกรมวิธานของไบรโอไฟต์บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยเชียงดาว
3. โครงการศึกษาวิจัยประเด็นปัญหาสำคัญ (Hot Issues) ที่เกี่ยวกับการคุกคามชนิดพันธุ์ที่สำคัญในระบบนิเวศต่างๆ 1. โครงการวิจัยเรื่องความหลากหลายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองเพชรบูรณ์ การอนุรักษ์ และฟื้นฟูด้วยการ เผยแพร่สู่ชุมชนและโรงเรียนในจังหวัด
2. โครงการวิจัยเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ ของอาหารธรรมชาติในป่าภูเขา บ้านห้วยสนามทราย อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์
4. จัดทำทะเบียนรายการชื่อชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตในประเทศไทย (Checklist)
5. ดำเนินแผนงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่กลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว
6. จัดทำ Fauna of Thailand (เน้นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) - Coral of Thailand - Flora of Thailand
7. ศึกษาและทบทวนอนุกรมวิธานพืชวงศ์บัวในประเทศไทย 1. การปรับปรุงหลักสูตรพืชศาสตร์ สัตวศาสตร์ ประมง เทคนิคการสัตวแพทย์ เทคโนโลยีการผลิต สัตว์ เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการอาหาร การจัดการสุขภาพท้องถิ่นและชุมชน
8. ส่งเสริมการวิจัยด้านอนุกรมวิธานในระบบนิเวศที่มีความจำเป็นเร่งด่วน ได้แก่ ระบบนิเวศภูเขา ระบบนิเวศเกาะ 1. ประชุมขับเคลื่อนการดำเนินงานของประเทศไทย จากผลการประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่า ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
9. ส่งเสริมการวิจัยด้านอนุกรมวิธานพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ในพื้นที่คุ้มครองทั่วประเทศ
10. ส่งเสริมการศึกษาเบื้องต้นด้านซิสเท็มมาติกส์ในกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สำคัญ - ซิสเท็มมาติกส์ของมอสส์ (moss) ในประเทศไทย - ซิสเท็มมาติกส์ของลิเวอร์เวิร์ต (liverwort) และฮอร์นเวิร์ต (hornwort) ในประเทศไทย 1. โครงการอนุกรมวิธานและซิสเทมาติคส์ของกลุ่มปะการังในน่านน้ำไทย
2. โครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น โดยร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความตระหนักถึง การอนุรักษ์พันธุ์พืชในท้องถิ่น
11. ซิสเท็มมาติกส์ของมอสส์ (moss) ในประเทศไทย
12. ซิสเท็มมาติกส์ของลิเวอร์เวิร์ต (liverwort) และฮอร์นเวิร์ต (hornwort) ในประเทศไทย 1. จัดฝึกอบรมหลักสูตรความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชและแนวทางการดำเนินงานของ กองทุนคุ้มครองพันธุ์พืชและการรณรงค์สร้างจิตสำนึกในคุณค่าของพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า และพันธุ์พืชพื้นถิ่นเฉพาะ
4.1.1.6 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเป็นฐานในการปรับตัวและบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1. แผนปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภาคปศุสัตว์
2. ศึกษาผลกระทบต่อระบบนิเวศป่าไม้และสัตว์ป่าจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเตรียมมาตรการในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและการจัดการระบบนิเวศและสัตว์ป่าในอนาคต
3. ศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มีต่อระบบนิเวศแนวปะการังและหญ้าทะเล และมาตรการในการฟื้นฟูแนวปะการังและแหล่งหญ้าทะเลที่เสื่อมโทรม
4. ศึกษาและจำแนกพื้นที่อ่อนไหวและระบบนิเวศสำคัญที่มีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกำหนดแผนปฏิบัติการคุ้มครองและฟื้นฟู
5. การวิจัยคาร์บอนในสวนป่าของประเทศไทยเพื่อแก้ไขภาวะโลกร้อน 1. บูรณาการเครือข่ายสื่อสารข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น (Bio Gang) ปี 2559
6. สำรวจชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์น้ำและพันธุ์ปศุสัตว์ที่มีความทนทานต่อสภาวะความแห้งแล้ง ความร้อนและน้ำท่วมขัง และคัดเลือกและเพาะเลี้ยงพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์น้ำ และพันธุ์ปศุสัตว์ที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย
7. ศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศเกษตร
8. ศึกษาโรคพืชและแมลงศัตรูพืชที่อุบัติใหม่จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1. ปรับปรุงบัญชีรายชื่อ ศัตรูพืชให้เป็นปัจจุบันและเผยแพร่
2. พัฒนาฐานข้อมูลศัตรูพืชและศัตรูพืชกักกัน
9. การใช้ประโยชน์ไม้วงศ์อบเชยในภาวะโลกร้อน
10. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการจัดการเมล็ดพันธุ์ไม้ป่า
11. การกักเก็บคาร์บอนของไผ่เศรษฐกิจบางชนิด
4.1.1.7 ส่งเสริมการประยุกต์ใช้และถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมถึงเทคโนโลยีขั้นสูงและเทคโนโลยีพื้นบ้าน ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน 1. สำรวจและรวบรวมข้อมูลของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ใช้อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. สำรวจและจำแนกตัวอย่างชนิดพันธุ์สัตว์ทะเลเพื่อศึกษาและเผยแพร่ความหลากหลายทาง ชีวภาพบริเวณหมู่เกาะยาว จ.พังงา
2. รวบรวมข้อมูลบัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพ ปี 2559
3. รวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ ปี 2559
2. ประเมินความต้องการการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านความหลากหลายทางชีวภาพจากหน่วยงานต่างๆ และจัดทำกรอบการดำเนินงานเพื่อเอื้ออำนวยการถ่ายทอดเทคโนโลยี ภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 1. โครงการนำร่องเพื่อศึกษาและถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีด้านการ อนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศป่าไม้
3. วิเคราะห์จัดลำดับความสำคัญและความเหมาะสมของเทคโนโลยีพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมให้ใช้อย่างเหมาะสมกับสภาพภูมินิเวศน์ และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกรและเจ้าหน้าที่
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
4.1.2.1 ศึกษา สำรวจ รวบรวมและปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่คุ้มครอง และชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ของประเทศ (Thailand’s Red Data) เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและทิศทางการดำเนินการด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ 1. ศึกษา สำรวจ และปรับปรุงสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทย (Thailand’s red data) 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสำหรับเยาวชนในชายแดนภาคใต้ ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วม 157 คน ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลาย ทางชีวภาพเพิ่มขึ้น
2. ศึกษา สำรวจ และปรับปรุงสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามและใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทย (Thailand’s red data) โดยเข้าร่วมประชุมเพื่อปรับปรุงสถานภาพบัญชีรายชื่อ และได้เสนอ วาฬบรูด้า วาฬโอมูระ และฉลามวาฬ ให้อยู่ในบัญชีสัตว์สงวน ในการเสนอรายชื่อสัตว์สงวนและ คุ้มครอง ๑๖ ชนิด เสนอรายชื่อสัตว์สงวนและคุ้มครอง ๒๑ ชนิด เผยแพร่ในชุมชน และสำรวจ การแพร่กระจายของโลมา วาฬ พะยูน และการวางไข่ของเต่าทะเลตามฤดูกาล ทั้งฝั่งอ่าวไทย และอันดามัน
2. จัดทำทะเบียนรายการสถานภาพชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทยกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
4.1.2.2 จัดทำคลังข้อมูล (web portal) ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และทะเบียนรายการทรัพยากรชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานสากลที่สามารถใช้ในการอ้างอิงและแสดงถึงแหล่งที่มาได้เพื่อปกป้องและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของประเทศ 1. จัดทำฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างหน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสำหรับเยาวชนในชายแดนภาคใต้ ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม 126 คน ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มขึ้น
2. จัดทำฐานข้อมูล เรื่อง พืชอนุรักษ์หรือพืชในบัญชีอนุสัญญาไซเตส
3. การจัดทำระบบฐานข้อมูลด้านการรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสวนของกรมวิชาการเกษตร ที่เก็บบันทึกลักษณะประจำพันธุ์และลักษณะทางการเกษตรที่เป็นมาตรฐาน (ตาม IPGRI) เพื่อการศึกษาค้นคว้าและเข้าถึงข้อมูล
2. จัดทำฐานข้อมูลจุลินทรีย์
3. การพัฒนาปรับปรุงระบบฐานข้อมูลตามแบบ Darwin Core (Thai) เพื่อเชื่อมโยงระหว่างประเทศ 1. บริหารจัดการและฟื้นฟูแนวปะการัง โดยการมีส่วนร่วมในพื้นที่นำร่อง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ จังหวัดภูเก็ต จำนวน ๒ ครั้ง มีอาสาสมัครเข้าร่วมครั้งละ ๓๐ คน
2. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการให้บริการข้อมูลและองค์ความรู้ทั้งในและระหว่างประเทศ ปี 2559
3. กิจกรรมอนุรักษ์และพัฒนาด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (งานเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ)
4. การบำรุงรักษาระบบบูรณาการฐานข้อมูล Thai Science Bioresources and Biotechnology (Thai2Bio) ฐานข้อมูลจุลินทรีย์
4. สร้างและเผยแพร่คลังข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดทำนโยบายระดับชาติในเรื่อง pollinator, ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน และชนิดพันธุ์อพยพ 1. การเข้าร่วมประชุมสัมมนาในด้านการจัดทำฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระดับชาติ
4.1.2.3 ปรับปรุงและพัฒนาระบบและกลไกเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล (Clearing House Mechanism) และองค์ความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้ง ฐานข้อมูลสถานภาพ ขอบเขต แนวกันชน และแผนที่พื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นปัจจุบันและสามารถเข้าถึงได้ในทุกระดับ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในเชิงนโยบาย 1. แปลงคู่มือการจัดทำป้ายสื่อความหมายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ให้เป็นระบบดิจิทอล
2. จัดตั้งกลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์ (ABS-CH) ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร กฎเกณฑ์ งานวิจัยเรื่องการเข้าถึงและการแบ่งปันผลประโยชน์
3. ธำรงรักษาเครือข่ายกลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีความยั่งยืนเพื่อเป็นกลไกสนับสนุนการดำเนินงานความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศและสนับสนุนการติดตามการดำเนินงานภายใต้นโยบาย มาตรการและแผนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
4. ขยายการดำเนินกลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพสู่สถาบันการศึกษา และหน่วยงานในภูมิภาคและจังหวัดและเชื่อมโยงเครือข่ายและกลไกฯ 1. กิจกรรมการเผยแพร่ สร้างจิตสำนึก และการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลาย ทางชีวภาพ
2. การพัฒนาเครื่องมือติดตามและสกัดข้อมูลสิ่งมีชีวิตที่พบในประเทศไทย จากฐานข้อมูลบทความวิชาการนานาชาติ
5. จัดทำและพัฒนาเว็บไซต์ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ชุ่มน้ำและฐานข้อมูลพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย
6. สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก
7. สนับสนุนหน่วยงาน สถาบันการศึกษาเผยแพร่ข้อมูลด้านอนุกรมวิธานผ่านกลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร - อนุกรมวิธานไลเคน - อนุกรมวิธานเฟิร์น - อนุกรมวิธานไบรโอไฟท์
8. เผยแพร่ข้อมูลด้านอนุกรมวิธานที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมประเพณีของชุมชนพื้นเมืองและชุมชนท้องถิ่น
9. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านพืชเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรพรรณพืชให้คงอยู่อย่างยั่งยืน (หลักสูตรนักพฤกษศาสตร์ท้องถิ่น หลักสูตรเชิงปฏิบัติการความหลากหลายทางชีวภาพด้านอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้น และชั้นสูง การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ การถ่ายภาพทางพฤกษศาสตร์ หลักสูตรการอบรมให้ความรู้ทางพืชและสิ่งแวดล้อม หลักสูตรค่ายเยาวชนพิทักษ์สิ่งแวดล้อม และการจัดบรรยายทางวิชาการ
10. จัดการภาพถ่ายและข้อมูลแมลงตัวอย่าง: ถ่ายภาพและพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อจัดการภาพและข้อมูลแมลงในพิพิธภัณฑ์
11. แปลงข้อมูลและตัวอย่างแมลงของ Roger Beeveer ให้เป็นระบบดิจิทอล: ถ่ายภาพและจัดการข้อมูลแมลงตัวอย่าง
12. แปลงหนังสือรายชื่อแมลงและไรในประเทศไทยให้เป็นระบบดิจิทอล